ชื่อ นางสาว ปริญญา นุ่มกัลยา (จิ๊ฟ)
รหัสประจำตัว 554179024
คณะครุศาสตร์ เอกเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง
วัน/เดือน/ปีเกิด วันอาทิตย์ที่26 เมษายน พ.ศ. 2535
อายุ 20 ปี กรุ๊ปเลือด 0
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี
รหัสวิชา16101
รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ประถมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่
จำนวน 1 หน่วยกิจ
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
|
ความรู้
|
ทักษะ/กระบวนการ
|
คุณลักษณะ
|
ง.3.1 ป. 6/1
|
-หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์และและเทคโนโลยีกับแก้ไขปัญหา
|
-การอธิบายการวางแผนตรวจสอบและปรับปรุง
|
-ใฝ่เรียนรู้
-รู้จักการวางแผนและแก้ไขปัญหา
|
ง.3.1 ป. 6/2
|
-
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
|
-ความสามารถในการสื่อสาร
-ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
|
-ใฝ่เรียนรู้
-มุ่งมั่นในการทำงาน
|
ง.3.1 ป. 6/3
|
-การเก็บรักษาข้อมูลที่เป็นประโยชน์ในรูปแบบต่างๆ
|
-การจัดเก็บข้อมูล
-การรวบรวมข้อมูล
|
-สามรถจัดเก็บข้อมูลในรูปแบบต่างๆได้
-มุ่งมั่นในการทำงาน
|
ง.3.1 ป. 6/4
|
-การนำเสนอข้อมูลในรูปแบบที่เหมาะสมโดยเลือกใช้ซอฟแวร์ประยุกต์
|
-การนำเสนอข้อมูล
-การอธิบาย
|
-สามารถใช้ข้อมูลในการนำเสนอข้อมูลได้
|
ง.3.1 ป. 6/5
|
-การใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีในการสร้างชิ้นงาน
|
-การวางแผนงาน
-การนำเสนอข้อมูล
|
-สามารถใช้คอมพิวเตอร์เพื่อสร้างชิ้นงานได้
-มีความคิดสร้างสรรค์
|
คำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี
รหัสวิชา16101
รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ประถมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ จำนวน 1 หน่วยกิจ
ศึกษาความหมาย บทบาท ความสำคัญ ผลกระทบ
ขอบเขต ประโยชน์ องค์ประกอบ
ของระบบสารสนเทศ
การจัดการข้อมูลสารสนเทศ หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
คุณลักษณะของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
และอุปกรณ์ต่อพ่วงระบบสื่อสารข้อมูลเครือข่ายคอมพิวเตอร์ หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
โดยใช้เครื่องมืออกแบบและขั้นตอนการแก้ปัญหาพัฒนาโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์อย่างเป็นระบบ
ปฏิบัติการค้าหาข้อมูลผ่านอินเตอร์เน็ต
การแก้ไขปัญหาอย่างเป็นขั้นตอนพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
เขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ สร้างโครงงานคอมพิวเตอร์และนำเสนอตามวัตถุประสงค์ของงาน คำนึงถึงผลกระทบด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากงานที่สร้างขึ้นเพื่อหาแนวทางปรับปรุงและพัฒนางานให้เหมาะสม
ตัวชี้วัด
ง.3.1 ป. 6/1 ง.3.1 ป. 6/2 ง.3.1 ป. 6/3
ง.3.1 ป. 6/4 ง.3.1 ป. 6/5
ออกแบบโครงสร้างหลักสูตร
รหัสวิชา ง16101 ชื่อวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี จำนวน 1หน่วยกิจ
ปีการศึกษา 2555 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
สัปดาห์ที่
(ว.ด.ป)
|
หน่วยการเรียนรู้ที่
|
ชื่อหน่วยการเรียนรู้
|
ชั่วโมงที่
|
เวลา
(ชม.)
|
1
|
1
|
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
|
1-2
|
2
|
2
|
ความหมายของคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยี
|
3-4
|
2
|
|
3
|
วัตถุประสงค์และหน้าที่ของคอมพิวเตอร์
|
5-6
|
2
|
|
4
|
ความสำคัญของคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยี
|
7-8
|
2
|
|
5
|
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
|
9-10
|
2
|
|
หน้าที่ของคอมพิวเตอร์
|
||||
6
|
2
|
ระบบคอมพิวเตอร์
|
11-12
|
2
|
7
|
วัตถุประสงค์ของระบบคอมพิวเตอร์
|
13-14
|
2
|
|
8
|
ความสำคัญของการใช้คอมพิวเตอร์กับระบบคอมพิวเตอร์
|
15-16
|
2
|
|
ประโยชน์ของระบบคอมพิวเตอร์
|
||||
9
|
3
|
การดูแลรักษาข้อมูลคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
|
17-18
|
2
|
วัตถุประสงค์ของการดูแลรักษาข้อมูลคอมพิวเตอร์
|
||||
10
|
ความสำคัญของการดูแลรักษาข้อมูลคอมพิวเตอร์
|
19-20
|
2
|
|
ประโยชน์ของการดูแลรักษาข้อมูลคอมพิวเตอร์
|
||||
11
|
4
|
ชอฟต์แวร์ประยุกต์กับการศึกษา
|
21-22
|
2
|
วัตถุประสงค์ของการใช้ซอฟแวร์ประยุกต์
|
||||
12
|
ความสำคัญของการใช้ซอฟแวร์ประยุกต์
|
23-24
|
2
|
|
ประโยชน์ของการใช้ซอฟแวร์ประยุกต์
|
||||
13
|
-
|
สอบกลางภาค
|
25-26
|
2
|
14
|
5
|
การสร้างชิ้นงานจากคอมพิวเตอร์
และเทคโนโลยี
|
27-28
|
2
|
15
|
ความหมายของการใช้คอมพิวเตอร์ในการไปประยุกต์ใช้กับเทคโนโลยี
|
29-30
|
2
|
|
16
|
ความสำคัญการสร้างชิ้นงานจากคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
|
31-32
|
2
|
|
17
|
ประโยชน์ของการสร้างชิ้นงานจากคอมพิวเตอร์
|
33-34
|
2
|
|
18
|
ความเหมาะสมของคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีกับการใช้งาน
|
35-36
|
2
|
|
19
|
คอมพิวเตอร์กัและเทคโนโลยี
|
37-38
|
2
|
|
20
|
-
|
สอบปลายภาค
|
39-40
|
2
|
รวม
|
40
|
40 ชม.
|
โครงสร้างรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
รหัสวิชา ง16101 รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เวลา 40 ชั่วโมง
จำนวน 1 หน่วยกิจ
ลำดับที่
|
ชื่อหน่วยการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียน/ตัวชี้วัด
|
สาระสำคัญ
|
เวลา
(ชม.)
|
น้ำหนักคะแนน
(100คะแนน)
|
1.
|
ความรู้เกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
|
ง.3.1 ป. 6/1
|
ศึกษาถึงความหมายความสำคัญประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
|
8
|
10
|
2.
|
การใช้คอมพิวเตอร์ขั้นพื้นฐานและเทคโนโลยี
|
ง.3.1 ป. 6/2
|
อธิบายหลักความสำคัญของการใช้คอมพิวเตอร์ขั้นพื้นฐานและเทคโนโลยี
|
7
|
10
|
3.
|
การดูแลรักษาข้อมูลคอมพิวเตอร์และระบบคอมพิวเตอร์
|
ง.3.1 ป. 6/3
|
การดูแลรักษาการจัดเก็บข้อมูลจาดคอมพิวเตอร์ให้อยู่ในสถานที่พร้อมในการใช้งานอยู่เสมอ
|
5
|
10
|
4.
|
ชอฟต์แวร์ประยุกต์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์กับการศึกษา
|
ง.3.1 ป. 6/4
|
การนำเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ไปใช้ในการศึกษาได้
|
7
|
10
|
5.
|
สอบกลางภาค
|
2
|
20
|
||
6.
|
การสร้างชิ้นงานจากคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
|
ง.3.1 ป. 6/5
|
นำคอมพิวเตอร์ไปประยุกต์ใช้ในงานด้านต่างๆ ให้ได้ประโยชน์สูงสุด
|
9
|
10
|
7.
|
สอบปลายภาค
|
2
|
30
|
.
หน่วยการเรียนรู้
รหัสวิชา ง16101
รายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องหลักการเบื้องต้นในการใช้เทคโนโลยี
เวลา 2 ชั่วโมง
1. มาตรฐานการเรียนรู้
1.1เข้าใจ เห็นคุณค่า
และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล การเรียนรู้ การสื่อสาร
การแก้ปัญหา การทำงาน และอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพประสิทธิผล และมีคุณธรรม
2. ตัวชี้วัด
2.1
บอกชื่อและหน้าที่ของอุปกรณ์ในการใช้คอมพิวเตอร์เทคโนโลยีสารสนเทศ
3. สาระสำคัญ
ศึกษาถึงความหมายความและสำคัญประโยชน์ของเทคโนโลยีและคอมพิวเตอร์
4.สาระการเรียนรู้
หลักการเบื้องต้นในการใช้คอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีและการประยุกต์ใช้งาน
- ความหมายของคอมพิวเตอร์และระบบคอมพิวเตอร์
- วัตถุประสงค์และหน้าที่ของคอมพิวเตอร์
- ความสำคัญของการดูแลรักษาข้อมูลคอมพิวเตอร์และระบบคอมพิวเตอร์
- ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
- หน้าที่ของคอมพิวเตอร์กับการสร้างชิ้นงานและการใช้เทคโนโลยี
5. สมรรถนะสำคัญ
ความสามารถในการคิดและความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
7.ชิ้นงาน/ภาระงาน
7.1 ชิ้นงาน
- ความรู้เกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี -
ใบงาน
7.2 ภาระงาน
-
มอบหมายให้นักเรียนไปสืบค้นข้อมูลในเรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
8.กระบวนการจัดการเรียนรู้
ชั่วโมงที่
1
8.1 ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
1. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้
2. ครูสนทนาซักถามนักเรียนและให้นักเรียนบอกถึงความรู้เกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และ
ที่พบเห็นในจังหวัดราชบุรีเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้งานจากเทคโนโลยีและคอมพิวเตอร์
8.2 ขั้นการจัดการเรียนรู้
1. นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๆละ 4-5 คน เลือกหัวหน้าและเลขานุการเพื่อทำหน้าที่ประสานงานและบันทึกการประชุมกลุ่ม
2. .ให้นักเรียนทุกกลุ่มสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับเทคโนโลยีและคอมพิวเตอร์และการประยุกต์ใช้จากแหล่งเรียนรู้ต่าง
ๆ
3. ให้แต่ละกลุ่มนำเสนอข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นมานำเสนอหน้าชั้นเรียน
4. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเลือกเทคโนโลยีในท้องถิ่นในจังหวัดราชบุรีที่สนใจ 1 อย่างโดยไม่ซ้ำกันและการนำไปใช้อย่างไรให้เกิดประโยชน์
ใบงานที่ 1
8.3 ขั้นสรุป
1.นักเรียนร่วมกันนำเสนอผลงานในรูปของการรายงานหน้าชั้นเรียน
9.สื่อและแหล่งการเรียนรู้
1.เทคโนโลยีในท้องถิ่น 2.
Internet
3.ใบงาน 4.รูปภาพและรายละเอียดของเทคโนโลยี
10.การวัดและประเมินผล
10.1วิธีการ
1.
ตรวจใบงาน 2. ตรวจผลงาน
3. สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม 3.แบบสอบถาม
10.2เครื่องมือ
1. แบบประเมินใบงาน 2.แบบประเมินผลงาน 3.แบบสังเกตพฤติกรรม
10.3 เกณฑ์การประเมิน
1.
ตรวจใบงาน เกณฑ์การผ่าน
ร้อยละ 60
2.
ตรวจผลงาน เกณฑ์การผ่าน ร้อยละ 60
3.
สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม เกณฑ์การผ่าน ร้อยละ 60
11.บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
หน่วยที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
เทคโนโลยี หมายถึง สิ่งที่มนุษย์พัฒนาขึ้น
เพื่อช่วยในการทำงานหรือแก้ปัญหาต่าง ๆ เข่น อุปกรณ์, เครื่องมือ,
เครื่องจักร, วัสดุ หรือ
แม้กระทั่งที่ไม่ได้เป็นสิ่งของที่จับต้องได้ เช่น กระบวนการต่าง ๆ
เทคโนโลยี เป็นการประยุกต์ นำเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ และก่อให้เกิดประโยชน์ ในทางปฏิบัติ แก่มวลมนุษย์กล่าวคือเทคโนโลยีเป็นการนำเอาความรู้ ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในการประดิษฐ์สิ่งของต่าง ๆให้เกิดประโยชน์สูงสุด ส่วนที่เป็นข้อแตกต่างอย่างหนึ่งของเทคโนโลยี กับวิทยาศาสตร์ คือเทคโนโลยีจะขึ้นอยู่กับปัจจัย ทางเศรษฐกิจเป็นสินค้ามีการซื้อขาย ส่วนความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เป็นสมบัติส่วนรวมของ ชาวโลกมีการเผยแพร่โดยไม่มีการซื้อขายแต่อย่างใดกล่าวโดยสรุปคือ เทคโนโลยีสมัยใหม่เกิดขึ้นโดยมีความรู้ทางวิทยาศาสตร์เป็นฐานรองรับ
ลักษณะของเทคโนโลยี
สามารถจำแนกออกได้เป็น 3 ลักษณะ คือ (Heinich , Molenda and Russell. 1993 : 449)
1. เทคโนโลยีในลักษณะของกระบวนการ ( process) เป็นการใช้อย่างเป็นระบบของวิธีการทางวิทยาศาสตร์หรือ
ความรู้ต่างๆที่ได้รวบรวมไว้ เพื่อนำไปสู่ผลในทางปฏิบัติ โดยเชื่อว่าเป็นกระบวนการที่เชื่อถือได้และนำไปสู่การแก้ปัญหาต่าง ๆ
2. เทคโนโลยีในลักษณะของผลผลิต (product) หมายถึง วัสดุและอุปกรณ์ที่เป็นผลมาจากการใช้กระบวนการทางเทคโนโลยี
3. เทคโนโลยีในลักษณะผสมของกระบวนการและผลผลิต (process and product) เช่น ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งมีการทำงานเป็นปฏิสัมพันธ์ระหว่างตัวเครื่องกับโปรแกรม
เทคโนโลยี เป็นการประยุกต์ นำเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ และก่อให้เกิดประโยชน์ ในทางปฏิบัติ แก่มวลมนุษย์กล่าวคือเทคโนโลยีเป็นการนำเอาความรู้ ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในการประดิษฐ์สิ่งของต่าง ๆให้เกิดประโยชน์สูงสุด ส่วนที่เป็นข้อแตกต่างอย่างหนึ่งของเทคโนโลยี กับวิทยาศาสตร์ คือเทคโนโลยีจะขึ้นอยู่กับปัจจัย ทางเศรษฐกิจเป็นสินค้ามีการซื้อขาย ส่วนความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เป็นสมบัติส่วนรวมของ ชาวโลกมีการเผยแพร่โดยไม่มีการซื้อขายแต่อย่างใดกล่าวโดยสรุปคือ เทคโนโลยีสมัยใหม่เกิดขึ้นโดยมีความรู้ทางวิทยาศาสตร์เป็นฐานรองรับ
ลักษณะของเทคโนโลยี
สามารถจำแนกออกได้เป็น 3 ลักษณะ คือ (Heinich , Molenda and Russell. 1993 : 449)
1. เทคโนโลยีในลักษณะของกระบวนการ ( process) เป็นการใช้อย่างเป็นระบบของวิธีการทางวิทยาศาสตร์หรือ
ความรู้ต่างๆที่ได้รวบรวมไว้ เพื่อนำไปสู่ผลในทางปฏิบัติ โดยเชื่อว่าเป็นกระบวนการที่เชื่อถือได้และนำไปสู่การแก้ปัญหาต่าง ๆ
2. เทคโนโลยีในลักษณะของผลผลิต (product) หมายถึง วัสดุและอุปกรณ์ที่เป็นผลมาจากการใช้กระบวนการทางเทคโนโลยี
3. เทคโนโลยีในลักษณะผสมของกระบวนการและผลผลิต (process and product) เช่น ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งมีการทำงานเป็นปฏิสัมพันธ์ระหว่างตัวเครื่องกับโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ คือ อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ (electrinic
device) ที่มนุษย์ใช้เป็นเครื่องมือช่วยในการจัดการกับข้อมูลที่อาจเป็นได้
ทั้งตัวเลข ตัวอักษร หรือสัญลักษณ์ที่ใช้แทนความหมายในสิ่งต่าง ๆ
โดยคุณสมบัติที่สำคัญของคอมพิวเตอร์คือการที่สามารถกำหนดชุดคำสั่งล่วงหน้าหรือโปรแกรมได้
(programmable) นั่นคือคอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้หลากหลายรูปแบบ
ขึ้นอยู่กับชุดคำสั่งที่เลือกมาใช้งาน
ทำให้สามารถนำคอมพิวเตอร์ไปประยุกต์ใช้งานได้อย่างกว้างขวาง เช่น
ใช้ในการตรวจคลื่นความถี่ของหัวใจ การฝาก - ถอนเงินในธนาคาร
การตรวจสอบสภาพเครื่องยนต์ เป็นต้น ข้อดีของคอมพิวเตอร์ คือ
เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความถูกต้อง
และมีความรวดเร็ว
อย่างไรก็ดี ไม่ว่าจะเป็นงานชนิดใดก็ตาม
เครื่องคอมพิวเตอร์จะมีวงจรการทำงานพื้นฐาน 4 อย่าง (IPOS cycle) คือ
1.
รับข้อมูล (Input) เครื่องคอมพิวเตอร์จะทำการรับข้อมูลจากหน่วยรับข้อมูล (input unit)
เช่น คีบอร์ด หรือ เมาส์
2.
ประมวลผล (Processing) เครื่องคอมพิวเตอร์จะทำการประมวลผลกับข้อมูล
เพื่อแปลงให้อยู่ในรูปอื่นตามที่ต้องการ
3.
แสดงผล (Output) เครื่องคอมพิวเตอร์จะให้ผลลัพธ์จากการประมวลผลออกมายังหน่วยแสดงผลลัพธ์ (output
unit) เช่น เครื่องพิมพ์ หรือจอภาพ
4.
เก็บข้อมูล (Storage) เครื่องคอมพิวเตอร์จะทำการเก็บผลลัพธ์จากการประมวลผลไว้ในหน่วยเก็บข้อมูล
เพื่อให้สามารถนำมาใช้ใหม่ได้ในอนาคต
คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์
ปัจจุบันนี้คนส่วนใหญ่นิยมนำคอมพิวเตอร์มาใช้งานต่าง ๆ
มากมาย ซึ่งผู้ใช้ส่วนใหญ่มักจะคิดว่าคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือที่สามารถทำงานได้สารพัด
แต่ผู้ที่มีความรู้ทางคอมพิวเตอร์จะทราบว่า
งานที่เหมาะกับการนำคอมพิวเตอร์มาใช้อย่างยิ่งคือการสร้าง สารสนเทศ ซึ่งสารสนเทศเหล่านั้นสามารถนำมาพิมพ์ออกทางเครื่องพิมพ์
ส่งผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ หรือจัดเก็บไว้ใช้ในอนาคนก็ได้
เนื่องจากคอมพิวเตอร์จะมีคุณสมบัติต่าง ๆ คือ
1.
ความเร็ว (speed) คอมพิวเตอร์ในปัจจุบันนี้สามารถทำงานได้ถึงร้อยล้านคำสั่งในหนึ่งวินาที
2.
ความเชื่อถือ (reliable) คอมพิวเตอร์ทุกวันนี้จะทำงานได้ทั้งกลางวันและกลางคืนอย่างไม่มีข้อผิดพลาด
และไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อย
3.
ความถูกต้องแม่นยำ (accurate) วงจรคอมพิวเตอร์นั้นจะให้ผลของการคำนวณที่ถูกต้องเสมอหากผลของการคำนวณผิดจากที่ควรจะเป็น
มักเกิดจากความผิดพลาดของโปรแกรมหรือข้อมูลที่เข้าสู่โปรแกรม
4.
เก็บข้อมูลจำนวนมาก ๆ ได้ (store massive
amounts of information) ไมโครคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน
จะมีที่เก็บข้อมูลสำรองที่มีความสูงมากกว่าหนึ่งพันล้านตัวอักษร และสำหรับระบบคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่จะสามารถเก็บข้อมูลได้มากกว่าหนึ่งล้าน
ๆ ตัวอักษร
5.
ย้ายข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกทีหนึ่งได้อย่างรวดเร็ว
(move information) โดยใช้การติดต่อสื่อสารผ่านระบบ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ซึ่งสามารถส่งพจนานุกรมหนึ่งเล่มในรูปของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
ไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ไกลคนซีกโลกได้ในเวลาเพียงไม่ถึงหนึ่งวินาที
ทำให้มีการเรียกเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมกันทั่วโลกในปัจจุบันว่า ทางด่วนสารสนเทศ (Information
Superhighway)
ผู้ที่สนใจศึกษาทางด้านคอมพิวเตอร์
จะต้องศึกษาหลักการทำงานพื้นฐานของเครื่องคอมพิวเตอร์และโปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ
รวมทั้งจะต้องศึกษาถึงผลกระทบจากคอมพิวเตอร์ต่อสังคมในวันนี้ ทั้งในแง่บวกและแง่ลบ
โดยในแง่บวกนั้นจะมองเห็นได้ง่ายจากสภาพแวดล้อมทั่วไป นั่นคือทำให้สามารถทำงานต่าง
ๆ ได้อย่างสะดวกและรวดเร็วขึ้น เริ่มตั้งแต่การจัดเก็บเอกสาร การพิมพ์จดหมาย
การจัดทำหนังสือพิมพ์และวารสารต่าง ๆ การฝาก - ถอนเงินในธนาคาร การจ่างเงินซื้อสินค้า
ตรวจความผิดปกติของทารกในครรภ์ และในทางการแพทย์อื่น ๆ อีกมากมาย
ในแง่ลบก็มีไม่น้อย เช่น
6.
โรงงานผลิตอุปกรณ์ของเครื่องคอมพิวเตอร์นั้นต้องใช้สารเคมีเป็นจำนวนมาก
ซึ่งจะทำให้เกิดมลพิษต่าง ๆ มากมาย
7.
ผู้ใช้อาจมีอาการเจ็บป่วยที่เกิดจากการทำงานกับเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน
ๆ เช่น อาจมีการปวดหลังไหล่ที่เกิดจากการนั่งอยู่หน้าเครื่องนาน ๆ
หรืออาจเกิดอาการ Carpal Tunnel Syndrome (CTS) ซึ่งเป็นอาการเจ็บป่วยที่เกิดจากเส้นประสาทบริเวณข้อมูลถูกกดทับเป็นเวลานาน
ๆ โดยอาจเกิดจากการใช้คีย์บอร์ดหรือเมาส์
รวมทั้งอาจมีอันตรายจากรังสีออกมาจากจอคอมพิวเตอร์ด้วย
8.
ถ้าคอมพิวเตอร์ทำงานผิดพลาดในระบบที่มีความสำคัญมาก
ๆ อาจเป็นอันตรายกับชีวิตมนุษย์ได้ เช่น การใช้คอมพิวเตอร์ควบคุมการจราจรทางอากาศ
เป็นต้น
คอมพิวเตอร์ที่ใช้อย่างแพร่หลายในปัจจุบัน คือ ไมโครคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีการใช้งานกันมาก
ทั้งที่บ้าน ที่ทำงาน ตลอดจนในสถานศึกษาต่างๆ
ไมโครคอมพิวเตอร์เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็ก แต่มีประสิทธิภาพในการทำงานที่สูงกว่าเครื่องขนาดใหญ่ในสมัยก่อนเสียอีก
อย่างไรก็ดีแม้ว่าไมโครคอมพิวเตอร์จะทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ก็ยังมีข้อจำกัดบางประการที่ทำไม่สามารถทำงานที่ใหญ่ และมีความซับซ้อนได้ เช่น
งานของระบบธนาคารหรืออุตสาหกรรมซึ้งมีปริมาณมากและมีความซับซ้อนจะเป็นงานที่จำเป็นต้องใช้คอมพิวเตอร์ที่ทำงานได้ดีกว่าเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยองค์ประกอบสำคัญ 5 ส่วนด้วยกัน คือ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ซอฟต์แวร์ (Sofeware)
บุคลากร (Peopleware) ข้อมูลและสารสนเทศ (Data/Information)
และกระบวนการทำงาน (Procedure)
การใช้คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
(Microsoft Windows)
เนื้อหาจะเป็นการแนะนำ การใช้คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ต่าง ๆ ที่จำเป็น ตั้งแต่การเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์
การจับเม้าส์ การกดปุ่มบนเม้าส์ ตลอดจนการเปิดโปรแกรมต่าง ๆ ขึ้นมา
การปิดโปรแกรมต่าง ๆ เมื่อไม่ใช้งาน การแก้ไขเครื่องในกรณีเครื่องเกิดอาการ Hang การปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ถูกต้อง
การเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์
1. ตรวจสอบปลั๊กเสียก่อนว่า เสียบเรียบร้อยดีหรือไม่
2. ที่จอภาพ กดสวิทซ์ เพื่อเปิดจอภาพ
3. ที่ CPU. ด้านหน้า จะมีสวิทซ์
เพื่อเปิดเครื่อง (กดเบา ๆ )
4. เมื่อเปิดเครื่องแล้ว รอสักครู่ ที่จอภาพจะมีข้อความเพื่อตรวจสอบระบบต่าง
ๆ
5. จากนั้น จะมีเสียง 1 ครั้ง
6. ที่หน้าจอภาพจะขึ้นคำว่า Windows เป็นการเริ่มต้นการใช้เครื่อง
เพราะเครื่องจะต้องเรียกโปรแกรมควบคุมเครื่องที่ชื่อว่า Windows เสียก่อน (จะใช้เวลาประมาณ 3 นาที)
7. จากนั้นหน้าจอภาพจะมีโปรแกรมต่าง ๆ อยู่ด้านซ้าย และด้านล่างจะมีแถบ Task
Bar ให้เราทำงานได้
การเลิกใช้เครื่องคอมพิวเตอร์
1. คลิ๊กที่ปุ่ม Start
2. เลื่อนมาคลิ๊กที่คำสั่ง Shut Down
3. คลิ๊กปุ่ม Ok
4. รอสักครู่เครื่องจะเริ่มทำการปิดระบบต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์
5. จากนั้นเครื่องจะดับเอง
6. ยกเว้น จอภาพ ให้กดสวิทซ์ ปิดจอด้วย
ใบความรู้
รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ประถมศึกษาปีที่ 6 รหัสวิชา16101 กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี
ความรู้เกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์ หมายถึง อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ (electrinic
device) ที่มนุษย์ใช้เป็นเครื่องมือช่วยในการจัดการกับข้อมูลที่อาจเป็นได้
ทั้งตัวเลข ตัวอักษร หรือสัญลักษณ์ที่ใช้แทนความหมายในสิ่งต่าง ๆ
โดยคุณสมบัติที่สำคัญของคอมพิวเตอร์คือการที่สามารถกำหนดชุดคำสั่งล่วงหน้าหรือโปรแกรมได้
(programmable) นั่นคือคอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้หลากหลายรูปแบบ
ขึ้นอยู่กับชุดคำสั่งที่เลือกมาใช้งาน
ทำให้สามารถนำคอมพิวเตอร์ไปประยุกต์ใช้งานได้อย่างกว้างขวาง เช่น
ใช้ในการตรวจคลื่นความถี่ของหัวใจ การฝาก - ถอนเงินในธนาคาร การตรวจสอบสภาพเครื่องยนต์
เป็นต้น ข้อดีของคอมพิวเตอร์ คือ
เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความถูกต้อง
และมีความรวดเร็ว
อย่างไรก็ดี ไม่ว่าจะเป็นงานชนิดใดก็ตาม
เครื่องคอมพิวเตอร์จะมีวงจรการทำงานพื้นฐาน 4 อย่าง (IPOS cycle) คือ
5.
รับข้อมูล (Input) เครื่องคอมพิวเตอร์จะทำการรับข้อมูลจากหน่วยรับข้อมูล (input unit)
เช่น คีบอร์ด หรือ เมาส์
6.
ประมวลผล (Processing) เครื่องคอมพิวเตอร์จะทำการประมวลผลกับข้อมูล
เพื่อแปลงให้อยู่ในรูปอื่นตามที่ต้องการ
7.
แสดงผล (Output) เครื่องคอมพิวเตอร์จะให้ผลลัพธ์จากการประมวลผลออกมายังหน่วยแสดงผลลัพธ์ (output
unit) เช่น เครื่องพิมพ์ หรือจอภาพ
8.
เก็บข้อมูล (Storage) เครื่องคอมพิวเตอร์จะทำการเก็บผลลัพธ์จากการประมวลผลไว้ในหน่วยเก็บข้อมูล
เพื่อให้สามารถนำมาใช้ใหม่ได้ในอนาคต
เทคโนโลยี หมายถึง สิ่งที่มนุษย์พัฒนาขึ้น เพื่อช่วยในการทำงานหรือแก้ปัญหาต่าง
ๆ เข่น อุปกรณ์, เครื่องมือ,
เครื่องจักร, วัสดุ หรือ
แม้กระทั่งที่ไม่ได้เป็นสิ่งของที่จับต้องได้ เช่น กระบวนการต่าง ๆ
เทคโนโลยี เป็นการประยุกต์ นำเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ และก่อให้เกิดประโยชน์ ในทางปฏิบัติ แก่มวลมนุษย์กล่าวคือเทคโนโลยีเป็นการนำเอาความรู้ ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในการประดิษฐ์สิ่งของต่าง ๆให้เกิดประโยชน์สูงสุด ส่วนที่เป็นข้อแตกต่างอย่างหนึ่งของเทคโนโลยี กับวิทยาศาสตร์ คือเทคโนโลยีจะขึ้นอยู่กับปัจจัย ทางเศรษฐกิจเป็นสินค้ามีการซื้อขาย ส่วนความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เป็นสมบัติส่วนรวมของ ชาวโลกมีการเผยแพร่โดยไม่มีการซื้อขายแต่อย่างใดกล่าวโดยสรุปคือ เทคโนโลยีสมัยใหม่เกิดขึ้นโดยมีความรู้ทางวิทยาศาสตร์เป็นฐานรองรับ
ลักษณะของเทคโนโลยี
สามารถจำแนกออกได้เป็น 3 ลักษณะ คือ (Heinich , Molenda and Russell. 1993 : 449)
1. เทคโนโลยีในลักษณะของกระบวนการ ( process) เป็นการใช้อย่างเป็นระบบของวิธีการทางวิทยาศาสตร์หรือ
ความรู้ต่างๆที่ได้รวบรวมไว้ เพื่อนำไปสู่ผลในทางปฏิบัติ โดยเชื่อว่าเป็นกระบวนการที่เชื่อถือได้และนำไปสู่การแก้ปัญหาต่าง ๆ
2. เทคโนโลยีในลักษณะของผลผลิต (product) หมายถึง วัสดุและอุปกรณ์ที่เป็นผลมาจากการใช้กระบวนการทางเทคโนโลยี
3. เทคโนโลยีในลักษณะผสมของกระบวนการและผลผลิต (process and product) เช่น ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งมีการทำงานเป็นปฏิสัมพันธ์ระหว่างตัวเครื่องกับโปรแกรม
เทคโนโลยี เป็นการประยุกต์ นำเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ และก่อให้เกิดประโยชน์ ในทางปฏิบัติ แก่มวลมนุษย์กล่าวคือเทคโนโลยีเป็นการนำเอาความรู้ ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในการประดิษฐ์สิ่งของต่าง ๆให้เกิดประโยชน์สูงสุด ส่วนที่เป็นข้อแตกต่างอย่างหนึ่งของเทคโนโลยี กับวิทยาศาสตร์ คือเทคโนโลยีจะขึ้นอยู่กับปัจจัย ทางเศรษฐกิจเป็นสินค้ามีการซื้อขาย ส่วนความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เป็นสมบัติส่วนรวมของ ชาวโลกมีการเผยแพร่โดยไม่มีการซื้อขายแต่อย่างใดกล่าวโดยสรุปคือ เทคโนโลยีสมัยใหม่เกิดขึ้นโดยมีความรู้ทางวิทยาศาสตร์เป็นฐานรองรับ
ลักษณะของเทคโนโลยี
สามารถจำแนกออกได้เป็น 3 ลักษณะ คือ (Heinich , Molenda and Russell. 1993 : 449)
1. เทคโนโลยีในลักษณะของกระบวนการ ( process) เป็นการใช้อย่างเป็นระบบของวิธีการทางวิทยาศาสตร์หรือ
ความรู้ต่างๆที่ได้รวบรวมไว้ เพื่อนำไปสู่ผลในทางปฏิบัติ โดยเชื่อว่าเป็นกระบวนการที่เชื่อถือได้และนำไปสู่การแก้ปัญหาต่าง ๆ
2. เทคโนโลยีในลักษณะของผลผลิต (product) หมายถึง วัสดุและอุปกรณ์ที่เป็นผลมาจากการใช้กระบวนการทางเทคโนโลยี
3. เทคโนโลยีในลักษณะผสมของกระบวนการและผลผลิต (process and product) เช่น ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งมีการทำงานเป็นปฏิสัมพันธ์ระหว่างตัวเครื่องกับโปรแกรม
ประโยชน์และข้อขอบเขตของการใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
1.ประโยชน์ด้านการศึกษา ใช้เพื่องานด้านการเรียนการสอนในหลายรูปแบบ เช่นการ
นำบทเรียน การผลิตสื่อการสอน
การใช้ซีดีรอมสำหรับการเรียนรู้ เกมเพื่อการศึกษาหรือ
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
2.ช่วยให้ติดต่อสื่อสารระหว่างกันอย่างสะดวกรวดเร็ว
โดยใช้โทรศัพท์ คอมพิวเตอร์หรือในรูปของ
สิ่งพิมพ์ต่าง ๆ
ขอบเขตการใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
ขอบเขตการใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
1.ต้องปรับเปลี่ยนให้ทันสมัยอยู่เสมอทั้งอุปกรณ์และโปรแกรม
เพราะอาจจะมีผลต่อการทำงานบางอย่างที่ต้องการความทัน สมัยและเข้ากันได้กับระบบอื่นๆ การปรับเปลี่ยนแต่ละครั้งต้องเสียค่าใช้จ่าย
2.ใช้งานนานเกินไปก็เสียสุขภาพ ทั้งรังสีที่แผ่ออกมา การจ้องหน้าจอนานๆ เสียสายตา หรือ อดหลับอดนอนเล่นเกม หรือแช็ต บางรายเพลินจนลืมกินอาหาร ส่งผลกระทบต่อการเรียนการทำงาน ทำให้เด็กเก็บตัว ไม่เข้าสังคม มีแต่เพื่อนในโลกเสมือน ทำให้เกิดปัญหาบุคลิกภาพ ต้องจัดแบ่งเวลาให้ดี
2.ใช้งานนานเกินไปก็เสียสุขภาพ ทั้งรังสีที่แผ่ออกมา การจ้องหน้าจอนานๆ เสียสายตา หรือ อดหลับอดนอนเล่นเกม หรือแช็ต บางรายเพลินจนลืมกินอาหาร ส่งผลกระทบต่อการเรียนการทำงาน ทำให้เด็กเก็บตัว ไม่เข้าสังคม มีแต่เพื่อนในโลกเสมือน ทำให้เกิดปัญหาบุคลิกภาพ ต้องจัดแบ่งเวลาให้ดี
แบบทดสอบ
1.เทคโนโลยีหมายถึงอะไร
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
2.คอมพิวเตอร์หมายถึงอะไร
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
3.คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสอดคล้องกันอย่างไร
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
4.ประโยชน์และข้อจำกัดของการใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
5.ให้บอกเทคโนโลยีที่นักเรียนใช้ในชีวิตประจำวันมีอะไรบ้าง
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น